火曜日, 9月 22, 2020

Rueang Chaya Phra 13:06


❝Siamese Language …

1 件のコメント:

Phra Wachiro さんのコメント...

#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ จุติ, อุบัติ ‹ ?

“ถ้านำความคิดที่พวกเราสอบสวนในทางภาษาแล้ว มากล่าว ที่ใด? ที่ตั้งอนุมานในสมุฏฐาน กันไว้ว่า เป็นดังโกฏธาตุในทางชวนะที่ไม่เร่งรีบ และเป็นอติฐานสมมุติชนิดที่ว่า เป็นความสมบูรณ์แห่งพยัญชนะ และอนุพยัญชนะ (สระ) ซึ่งว่าค่าที่ความสมบูรณ์ นั่นเอง กล่าวว่า ‘ไม่มีเสียง!’ หรือกล่าวว่าไม่พบ ไม่เห็น ว่ามีใคร นั่นเอง , เรื่องนิพพานโดยแท้ อย่างนี้ อุทาหรณ์ของนักภาษา ท่านมักจับประเด็นที่สัญลักษณ์ คือตัวพยัญชนะ และอนุพยัญชนะ นั่นแหละ ตรงบาลี ว่า ‘อกฺขรานํ สนฺนิปาตํ’ คือแปลว่า ณ ที่เป็นสันนิบาต เป็นทางนิพพาน แต่เมื่อถึงนิพพานแล้ว ก็ไม่ต้องพบ ด้วยธรรมอักขระแล้ว

ข้อนี้ ต้องพูดแบบดิบ ๆ คือแบบกักขฬะ ให้รู้บ้างก่อน เช่นเอาไม้กวาดตีกระบาล ลูกศิษย์ ๆ ก็ต้องร้อง โอ๊ย! แต่ที่นี้ อาจารย์เอาดวงจิตตี ศิษย์นำจิตเข้ารับรู้ ศิษย์กำหนดดวงจิตทำความพ้น ก็ไม่ต้องโอ๊ย! ถึงนิพพาน ที่ไม่มีเสียง อันนี้ ท่านสอนโดยเทียบกับ ศัพท์ ในทางโลกว่า ‘อนุญญาตราย’ กล่าวแต่เป็นจิตเล็กน้อยที่พ้นประมาณ ได้นิพพานในขณะปัจจุบัน แต่ลงที่ชวนะจิตแล่นกลับคืนมาที่เก่า ย่อมมีเสียงได้อีก ก็เรียกว่า ยังไม่ได้นิพพาน , ซึ่งต้องว่าในเรื่อง สมมติฐาน มากซะก่อน เพราะเมื่อตอนที่ดวงจิตกลับคืนมานั่นเอง เมื่อใดจิตอันสามารถยังกลับคืนมาแล้ว ก็ย่อมจะไม่ได้

กำหนด ความแก้สงสัยหน่อยหนึ่งว่า บทที่อาจารย์สอนศิษย์ เทียบกับบทในทางโลกว่า กระทำแก่ศัพท์ อนุญฺญาตราย ไปได้แก่กรรม ท่านไม่อนุญาตอะไร ท่านถึงเอาไม้กวาดฟาด!ซะก่อนเลย นิพพานก็เลยไม่ต้องได้ เพราะศิษย์นั้น มันยังไม่ทำศีลดี จิตดี ข้อวัตรปฏิบัติดี ให้ตนและหมู่พระศาสนาได้เลยพ้นอันตรายมาซะก่อน ‘อนุญฺญ’ ตรงนี้ เข้าใจว่า เป็นอัญญะศัพท์ด้วย ที่กล่าวมาก่อนแล้วโน้น ลงคือ อัญญะ ก็คือรู้นั่นเอง เช่นที่ท่านเปรียบว่า ราก!รู้หาอาหารและที่แห่งอาหารเป็นต้น แต่ว่านิพพานไม่ใช่อาการรู้! กิริยาแต่เป็นการพลิก!ธรรม สู่ความไม่พบใคร ไม่เห็นใคร คือกลับคืนแต่ที่ไม่มีเสียง นั่นเอง แต่ถ่ายเดียว

ทีนี้ กล่าวถึงพระสรีระ อันยังไม่ถึงตอนที่ต้องพินาศ ด้วยอาการทางเนื้อหนัง ครั้งดูด้วยอาการท่านกำหนดผิดถูกชั่วดี ชอบชัง และความเบียดกรอลงมาที่ พยัญชนะ และอนุพยัญชนะ แห่งใดสมบูรณ์โกฏฐาน ด้วยพระสรีระของพระพุทธเจ้า เมื่อครั้งดำรงพระชนม์ ซึ่งก็หมายถึงตรงความไม่อันตรธาน และยั่งยืน ดั่งที่เราพูดกันไป นี้แหละ หมายถึงกิริยา และเป็นสัจฉิกิริยา ซึ่งข้าพเจ้าก็ได้กำหนดให้ทราบไปแล้ว ในเรื่องของการตรา และในเรื่องของการทำลายเส้น คือลงที่เรื่อง เส้นเบียด (เส้นบรรจบ), เส้นตัด, และเส้นขนาน , โดยเปรียบเทียบ อันจะให้คนเข้าใจแล้ว นิพพานก็คือจักร ที่ผัน ที่ขนานกันไปได้ โดยไม่ต้องมีด้วยการถูกกำหนดด้วยอัตราใด อัตราหนึ่ง” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “จุติ, อุบัติ” ดูอ้าง rb.gy/8tjlp1 )

Due which names are the same Just bypassed it …