#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ต่อมา ‹ ?“อันเรื่องดั่งวิมุต นี้ จะต้องไม่มีมิจฉาวิมุต มาคิด ซึ่งบางที บางที่นี้ เราก็ระลึก! ให้รู้ว่า เหมือนศัพท์มิจฉา ไปกับมัจฉาก็เหมือนกัน คือดั่งจะลึกลับแฝงเร้นอยู่ด้วยกัน , ถึงจะเล่าอะไร?มิทราบ แต่เป็นว่า จะต้องคุยเรื่องวิมุต เพราะท้ายบทนี้ ส่งความไปถึง เรื่องเราจึงต้องถือว่า ควรพูดอย่างนี้ คือเรื่อง ย่อมให้รู้ว่า เดิมสามัญ ก็คือเรื่อง ‘สระเกษมไม่มีภัย’ ตรงสำคัญ!ที่จะจับหงส์ทอง มาบูชา และเพื่อจะทำสักการะ ทุกสิ่งวิเศษประการ ที่หงส์จะแสดงธรรมความแต่ สระเกษม! ก็คือลึกลับวิเศษ แฝงเร้น อยู่กับคำว่าศีรษะ และคำว่า เกษียร ด้วย อย่างนั้น ศัพท์กล่าวนี้ ก็ดั่งกับคำว่า มิจฉา และมัจฉาศัพท์ เป็นต้น , ที่เมื่อ พอซึ่งคิดดั่งนี้ โดยสามัญ ก็ต้องลืมไปแล้วหมด ว่าคือเรื่องอะไร? , เพราะว่าภาษาไม่เคยได้บอกไว้ โดยตรง แต่สรุปตามเข้าท้องเรื่องนิทาน ว่า ‘สระเกษม’ นั้น! ว่าคือสระประดิษฐ์ค่าแห่งอภัยทาน เพื่อจะจับหงส์ทองให้ได้เท่านั้น แต่ก็ไม่ทราบว่า เมื่อจับหงส์ทองได้แล้ว สระนั้น จะเป็นสระเกษม อย่างไร?หรือไม่ , ลงแต่ความว่า เพราะการเล่าลือ ว่า จงให้สัตว์ทั้งปวง นั้นมันจงเล่าลือ ว่าสระนี้เป็นสระดี ไม่มีภัย เล่าลือกันขึ้นมาก ๆ ไปจนกว่า เพื่อว่าหงส์ทองฉะนั้น จะได้มาเรื่อง เมื่อเล่าลือ บรรลือวิเศษ เราก็น่าที่จะต้องมาดู ว่า สระ! เล่าลือกันขึ้นนี้ เป็น สระเกษมไม่มีภัย อภัย ที่แท้จะเป็นวิมุต แทนที่กันอยู่ตรงไหน?ของร่างกาย เพราะว่าพวกเราทำทุกอย่าง จะต้องพิจารณาลงไปที่ขันธ์๕ และกาย , แลซึ่งควรจะต้องเข้าใจว่า โดยทั้งกายที่สมมุติ และโดยกายที่ยังมิได้สมมุติ ก็ด้วยเพราะ สระเกษม เป็นที่อภัยไม่จริง! ฉะนั้นจะอธิบายว่า เกษม! คงควรจะต้องแปลแบบลึกลับ และวิเศษ ว่า หมายถึง ‘ความมีน้ำนมดี’ นั่นเอง หรืออีกอย่างหนึ่ง ก็คงหมายความว่า ‘หัวคิดของคนหนึ่ง นั้น มีแต่ทาน และการให้’ มากอยู่อย่างนั้น นั่นเอง สถิตอยู่ ท่านก็จึงเรียกกันว่า จิตได้ที่เกษม” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ต่อมา” ดูอ้าง rb.gy/h1d9kk )
#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ต่อมา ‹ ?
返信削除“อันเรื่องดั่งวิมุต นี้ จะต้องไม่มีมิจฉาวิมุต มาคิด ซึ่งบางที บางที่นี้ เราก็ระลึก! ให้รู้ว่า เหมือนศัพท์มิจฉา ไปกับมัจฉาก็เหมือนกัน คือดั่งจะลึกลับแฝงเร้นอยู่ด้วยกัน , ถึงจะเล่าอะไร?มิทราบ แต่เป็นว่า จะต้องคุยเรื่องวิมุต เพราะท้ายบทนี้ ส่งความไปถึง เรื่องเราจึงต้องถือว่า ควรพูดอย่างนี้
คือเรื่อง ย่อมให้รู้ว่า เดิมสามัญ ก็คือเรื่อง ‘สระเกษมไม่มีภัย’ ตรงสำคัญ!ที่จะจับหงส์ทอง มาบูชา และเพื่อจะทำสักการะ ทุกสิ่งวิเศษประการ ที่หงส์จะแสดงธรรม
ความแต่ สระเกษม! ก็คือลึกลับวิเศษ แฝงเร้น อยู่กับคำว่าศีรษะ และคำว่า เกษียร ด้วย อย่างนั้น ศัพท์กล่าวนี้ ก็ดั่งกับคำว่า มิจฉา และมัจฉาศัพท์ เป็นต้น , ที่เมื่อ พอซึ่งคิดดั่งนี้ โดยสามัญ ก็ต้องลืมไปแล้วหมด ว่าคือเรื่องอะไร? , เพราะว่าภาษาไม่เคยได้บอกไว้ โดยตรง แต่สรุป
ตามเข้าท้องเรื่องนิทาน ว่า ‘สระเกษม’ นั้น! ว่าคือสระประดิษฐ์ค่าแห่งอภัยทาน เพื่อจะจับหงส์ทองให้ได้เท่านั้น แต่ก็ไม่ทราบว่า เมื่อจับหงส์ทองได้แล้ว สระนั้น จะเป็นสระเกษม อย่างไร?หรือไม่ , ลงแต่ความว่า เพราะการเล่าลือ ว่า จงให้สัตว์ทั้งปวง นั้นมันจงเล่าลือ ว่าสระนี้เป็นสระดี ไม่มีภัย เล่าลือกันขึ้นมาก ๆ ไปจนกว่า เพื่อว่าหงส์ทองฉะนั้น จะได้มา
เรื่อง เมื่อเล่าลือ บรรลือวิเศษ เราก็น่าที่จะต้องมาดู ว่า สระ! เล่าลือกันขึ้นนี้ เป็น สระเกษมไม่มีภัย อภัย ที่แท้จะเป็นวิมุต แทนที่กันอยู่ตรงไหน?ของร่างกาย เพราะว่าพวกเราทำทุกอย่าง จะต้องพิจารณาลงไปที่ขันธ์๕ และกาย , แลซึ่งควรจะต้องเข้าใจว่า โดยทั้งกายที่สมมุติ และโดยกายที่ยังมิได้สมมุติ ก็ด้วย
เพราะ สระเกษม เป็นที่อภัยไม่จริง! ฉะนั้นจะอธิบายว่า เกษม! คงควรจะต้องแปลแบบลึกลับ และวิเศษ ว่า หมายถึง ‘ความมีน้ำนมดี’ นั่นเอง หรืออีกอย่างหนึ่ง ก็คงหมายความว่า ‘หัวคิดของคนหนึ่ง นั้น มีแต่ทาน และการให้’ มากอยู่อย่างนั้น นั่นเอง สถิตอยู่ ท่านก็จึงเรียกกันว่า จิตได้ที่เกษม” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ต่อมา” ดูอ้าง rb.gy/h1d9kk )