#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ภักดี ‹ ?“หากจะถามต่อรับส่งให้เข้าเรื่อง ก็ควรจะมีคำให้พิจารณาอยู่ เช่นประโยคที่ว่า ‘ความเลื่อมใสถึงสิ่งไรอาการไรอยู่’ ก็อาจหมายความว่ามีสิ่งไรอาการไรที่ไม่ได้เลื่อมใสอยู่ , แต่ทีนี้ที่ผิดกันนั้น ก็คือว่าความไม่ผ่องใส ชื่อว่าความไม่ผ่องใสนี้เอง ที่แท้ว่าก็ไม่ได้หมายความว่า ไม่เลื่อมใส , และความผ่องใสก็ดี อาจไม่แน่นอน เพราะไม่ได้หมายความว่า ถูกต้องตามที่ใคร ๆ ควรจะได้เลื่อมใสก็ว่าจิตประภัสสรนั้น ไม่ได้กล่าวไว้ว่าให้คนคิดเลื่อมใสสุขอันประภัสสรนั้น ๆ แต่ให้แน่นอนใจว่า เมื่อนี้ธรรมสังเวชจะได้ปรากฏแก่ญาณของเราอยู่ จิตแปรปรวนเปลี่ยนแปลงได้ ไม่มีกิเลสก็ได้ ประภัสสรก็ได้ กิเลสมาอาศัยก็ได้ ไม่พึงประมาณในจิตนี้เลยแม้หน่อยหนึ่ง ว่าควรยึดถือ อาการว่าญาณจะเล็งเห็นถึงที่สุดนั้นเห็นจะไม่มี ด้วยความประมาณในจิต เพราะจิตญาณ หรือกิจญาณก็ตาม หากไม่ได้ด้วยปฏิปทาตามประกอบมาอยู่ก่อน ประภัสสรหรือไม่ก็ตาม หากประกอบด้วยญาณอันหมุนไปผิด หยั่งลงแล้ว ย่อมไม่ถึงความเลื่อมใส ย่อมพลาดจากกาลแห่งศาสนาอันมีประมาณน้อย เพราะไม่อาจยังความเลื่อมใสให้เกิดขึ้น เกินไปกว่าสุขอันประภัสสรนั้น เกิดความก็แต่ หาพาลแต่ได้จะเอาสุขแต่เท่านั้น หาได้สิ้นทุกข์แต่อย่างไรไม่ เพราะรู้ว่าให้เกิดประภัสสรมาและเหตุให้เกิดกิเลสนั้น ไม่ได้ปรากฏมาด้วย ทว่าให้แสดงด้วยความย่อ ก็ให้ว่าดังนี้ :- ‘ความมืดดำ ถูกกระทำ ให้เปื้อนแสง , ความหน่ายแหนง กระทำเสื่อม ความเลื่อมใส’ ...อย่างนี้เป็นต้น” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ภักดี” ดูอ้าง rb.gy/hekuvm )
#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ภักดี ‹ ?
返信削除“หากจะถามต่อรับส่งให้เข้าเรื่อง ก็ควรจะมีคำให้พิจารณาอยู่ เช่นประโยคที่ว่า ‘ความเลื่อมใสถึงสิ่งไรอาการไรอยู่’ ก็อาจหมายความว่ามีสิ่งไรอาการไรที่ไม่ได้เลื่อมใสอยู่ , แต่ทีนี้ที่ผิดกันนั้น ก็คือว่าความไม่ผ่องใส ชื่อว่าความไม่ผ่องใสนี้เอง ที่แท้ว่าก็ไม่ได้หมายความว่า ไม่เลื่อมใส , และความผ่องใสก็ดี อาจไม่แน่นอน เพราะไม่ได้หมายความว่า ถูกต้องตามที่ใคร ๆ ควรจะได้เลื่อมใส
ก็ว่าจิตประภัสสรนั้น ไม่ได้กล่าวไว้ว่าให้คนคิดเลื่อมใสสุขอันประภัสสรนั้น ๆ แต่ให้แน่นอนใจว่า เมื่อนี้ธรรมสังเวชจะได้ปรากฏแก่ญาณของเราอยู่ จิตแปรปรวนเปลี่ยนแปลงได้ ไม่มีกิเลสก็ได้ ประภัสสรก็ได้ กิเลสมาอาศัยก็ได้ ไม่พึงประมาณในจิตนี้เลยแม้หน่อยหนึ่ง ว่าควรยึดถือ
อาการว่าญาณจะเล็งเห็นถึงที่สุดนั้นเห็นจะไม่มี ด้วยความประมาณในจิต เพราะจิตญาณ หรือกิจญาณก็ตาม หากไม่ได้ด้วยปฏิปทาตามประกอบมาอยู่ก่อน ประภัสสรหรือไม่ก็ตาม หากประกอบด้วยญาณอันหมุนไปผิด หยั่งลงแล้ว ย่อมไม่ถึงความเลื่อมใส ย่อมพลาดจากกาลแห่งศาสนาอันมีประมาณน้อย เพราะไม่อาจยังความเลื่อมใสให้เกิดขึ้น เกินไปกว่าสุขอันประภัสสรนั้น เกิดความก็แต่ หาพาลแต่ได้จะเอาสุขแต่เท่านั้น หาได้สิ้นทุกข์แต่อย่างไรไม่ เพราะรู้ว่าให้เกิดประภัสสรมาและเหตุให้เกิดกิเลสนั้น ไม่ได้ปรากฏมาด้วย ทว่าให้แสดงด้วยความย่อ ก็ให้ว่าดังนี้ :- ‘ความมืดดำ ถูกกระทำ ให้เปื้อนแสง , ความหน่ายแหนง กระทำเสื่อม ความเลื่อมใส’ ...อย่างนี้เป็นต้น” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ภักดี” ดูอ้าง rb.gy/hekuvm )