#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ปฏิฆานุสัย ‹ ?“ตอนเกิดมารดาไม่ได้บอกว่าอย่างไร ที่ถาม หรือเล่าให้ฟัง มารดาบอกว่า คลอดง่าย เกิดปรกติ! เลี้ยงง่าย ปล่อยให้นั่งอยู่ที่ไหน ก็นั่งอยู่ตรงนั้น ไม่เดือดร้อนอะไรทั้งสิ้น , ในทางนี้ ก็ต้องมาคิดถึงตบะ! ถึงคติทีนี้ ท่านที่ศึกษา ทางทำคลอด ท่านว่า การเกิดโดยชีวิต รอดได้จากครรภ์ มีอยู่ด้วยกัน ๓แบบฉบับ เท่านั้นแหละ ตามเส้นทางปรกติ คือเกิดโดย หัวออก, ก้นออก และขาออก ก่อนทีนั้น เกิดพระพุทธเจ้ารูปองค์น้อย พระองค์ มีขานำเท้าออกมาก่อน พระบาทก็ดำเนิน บัณฑิตผู้มั่นคงปัญญา แก่ควรคิด! นำมาเป็นเรื่องคติ ทางตบะ!คติตามธรรมะทำนาย ท่านบอกว่าอย่างไร? พระดำเนิน คนนำมาคิดตามการเกิด นั้น โดยลำดับไป ปัจจุบัน ก็ต้องคะนึงพึงว่า หัวนอน! ก้นนั่ง! ขาเดินและยืน เป็นไปตรงคติ! ถูกต้อง พระพุทธเจ้าของเราทรงมีคติ ที่ใดเกิด ก็ย่อมมีคติ ๒อย่าง เพราะยืน และเดิน ตรงเรื่อง ที่ทรงพึงควรเพียรเพ่งตบะ กระทำทมะ ฝึกหัดฝึกฝนตน ขัดเกลา บ่มเพาะ ประพฤติธรรม มีนโยบาย ไปให้ถึงแต่พวกเรานี้ คนทั่วไป โดยมาก คงเกิดแบบหัวออก หรือไม่ก็ก้นออก ด้วยไม่มีการผ่าตัดอะไรทั้งนั้น เพียงไหนคนห่วงรก! ท่านก็หาที่เก็บรก ใครไม่ห่วงรก ก็อาจจะทิ้งไป ไม่รู้ว่าอยู่ตรงไหนอันอย่างนี้ ข้าพเจ้า และคนอื่น ทั่ว ๆ ไป ก็น่าจะคิดถึงเรื่องตบะ ซึ่งหมายถึง ความที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ตรงเฉพาะที่เป็นความเกิด และคติ สิ่งใดเปลี่ยนแปลงไม่ได้ , คนทั่วไป ในความมีโชคดี ที่ได้เป็นมนุษย์ โดยทั่วไป ทุกท่านก็คงได้มีคติทางเดียว อย่างเดียว ไม่ใช่ไปทำหมดทั้ง ๒อย่าง ๆ พระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์จะต้องฝึกหัดพระองค์เอง ลงตรงไปทำทั้ง๒อย่าง ,ตรงนี้ ศัพท์ตบะ ให้มาคิดถึงอิริยาบถ เป็นการเตือน! คือเตือนว่า ใดยั่งยืน ใดเที่ยงแท้ มั่นคง ก็ต้องโดยการเกิด นั่นเอง เราจะเรียกว่าพูดล้อศัพท์ก็ได้ เป็นคำ เป็นเครื่องที่ล้อกัน ก็ต้องว่า ‘เที่ยงแท้ยั่งยืน!’ ดั่งนั้นจึงว่า ทว่า ยืนเป็นเที่ยง! หยั่ง (เดิน)ก็เป็นเที่ยง! ฉะนั้น เที่ยงคืนก็ต้องไป ๖โมงเช้า (นั่ง) , ตรงเที่ยงวัน? อยู่ตรงไหนเล่า นั่นหน่ะ เที่ยงวัน ท่านก็ต้องไปถึง ๖โมงเย็น (นอน).” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ปฏิฆานุสัย” ดูอ้าง rb.gy/zar8xc )
#เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ปฏิฆานุสัย ‹ ?
返信削除“ตอนเกิดมารดาไม่ได้บอกว่าอย่างไร ที่ถาม หรือเล่าให้ฟัง มารดาบอกว่า คลอดง่าย เกิดปรกติ! เลี้ยงง่าย ปล่อยให้นั่งอยู่ที่ไหน ก็นั่งอยู่ตรงนั้น ไม่เดือดร้อนอะไรทั้งสิ้น , ในทางนี้ ก็ต้องมาคิดถึงตบะ! ถึงคติ
ทีนี้ ท่านที่ศึกษา ทางทำคลอด ท่านว่า การเกิดโดยชีวิต รอดได้จากครรภ์ มีอยู่ด้วยกัน ๓แบบฉบับ เท่านั้นแหละ ตามเส้นทางปรกติ คือเกิดโดย หัวออก, ก้นออก และขาออก ก่อน
ทีนั้น เกิดพระพุทธเจ้ารูปองค์น้อย พระองค์ มีขานำเท้าออกมาก่อน พระบาทก็ดำเนิน บัณฑิตผู้มั่นคงปัญญา แก่ควรคิด! นำมาเป็นเรื่องคติ ทางตบะ!
คติตามธรรมะทำนาย ท่านบอกว่าอย่างไร? พระดำเนิน คนนำมาคิดตามการเกิด นั้น โดยลำดับไป ปัจจุบัน ก็ต้องคะนึงพึงว่า หัวนอน! ก้นนั่ง! ขาเดินและยืน เป็นไปตรงคติ! ถูกต้อง พระพุทธเจ้าของเราทรงมีคติ ที่ใดเกิด ก็ย่อมมีคติ ๒อย่าง เพราะยืน และเดิน ตรงเรื่อง ที่ทรงพึงควรเพียรเพ่งตบะ กระทำทมะ ฝึกหัดฝึกฝนตน ขัดเกลา บ่มเพาะ ประพฤติธรรม มีนโยบาย ไปให้ถึง
แต่พวกเรานี้ คนทั่วไป โดยมาก คงเกิดแบบหัวออก หรือไม่ก็ก้นออก ด้วยไม่มีการผ่าตัดอะไรทั้งนั้น เพียงไหนคนห่วงรก! ท่านก็หาที่เก็บรก ใครไม่ห่วงรก ก็อาจจะทิ้งไป ไม่รู้ว่าอยู่ตรงไหน
อันอย่างนี้ ข้าพเจ้า และคนอื่น ทั่ว ๆ ไป ก็น่าจะคิดถึงเรื่องตบะ ซึ่งหมายถึง ความที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ตรงเฉพาะที่เป็นความเกิด และคติ สิ่งใดเปลี่ยนแปลงไม่ได้ , คนทั่วไป ในความมีโชคดี ที่ได้เป็นมนุษย์ โดยทั่วไป ทุกท่านก็คงได้มีคติทางเดียว อย่างเดียว ไม่ใช่ไปทำหมดทั้ง ๒อย่าง ๆ พระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์จะต้องฝึกหัดพระองค์เอง ลงตรงไปทำทั้ง๒อย่าง ,
ตรงนี้ ศัพท์ตบะ ให้มาคิดถึงอิริยาบถ เป็นการเตือน! คือเตือนว่า ใดยั่งยืน ใดเที่ยงแท้ มั่นคง ก็ต้องโดยการเกิด นั่นเอง เราจะเรียกว่าพูดล้อศัพท์ก็ได้ เป็นคำ เป็นเครื่องที่ล้อกัน ก็ต้องว่า ‘เที่ยงแท้ยั่งยืน!’ ดั่งนั้นจึงว่า ทว่า ยืนเป็นเที่ยง! หยั่ง (เดิน)ก็เป็นเที่ยง! ฉะนั้น เที่ยงคืนก็ต้องไป ๖โมงเช้า (นั่ง) , ตรงเที่ยงวัน? อยู่ตรงไหนเล่า นั่นหน่ะ เที่ยงวัน ท่านก็ต้องไปถึง ๖โมงเย็น (นอน).” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ปฏิฆานุสัย” ดูอ้าง rb.gy/zar8xc )