金曜日, 9月 11, 2020

Rueang Chaya Phra 12:55


❝Siamese Language …

1 件のコメント:

  1. #เรื่อง “แสดงคติสมบูรณ์” ให้กระทำกลับคืน ศัพท์ ภัณฑ์ ‹ ?

    “เมื่อ พูดถึงเรื่องปุคคลิก คือบุคลิก พยัญชนะ, อรรถะ เหล่านี้ฉะนั้น จะสาละวนให้เราไปอย่างไร? โดยที่ไม่ต้องไปนึกขบขัน , ลงเช่นนี้นั้น ก็คิดว่า โยง! ศัพท์เมื่อวานนั่นเอง เพราะเป็นเรื่องที่ยังไม่ได้ทำไว้ , เพราะอะไร? เมื่อมีการแต่โยงมาก ในสิ่งที่ทำไว้แล้ว ตั้งมาก ย่อมบอกว่า โยงอะไรกันนักหนา จะมัวไปหาโยงทำไม? , ฉะนั้น บอกว่า ต้องโยงอภิปราย พูดจะไปศัพท์ ปัณฑระ! นั่นเอง

    ว่า ปัณฑระ มีบุคลิก อย่างไร? หรือที่จะเปรียบเสมอ ๆ ว่า มีสันติธรรม เป็นสภาพ!อย่างไร นั่นเอง , ท่านสุวินัย หรือใครไม่ทราบ หนังสือตรงนั้น นั่น เราเคยอ่าน พบเห็น อ่าน! แล้วสรุป จากบริบท และสาธยายมากมายข้อความ รวมทั้งหมด คล้ายมีข้อหนึ่งในความตอนหนึ่ง ว่า ท่านบอกกล่าว ไปแด่ทุกคน ศัพท์ว่า ปัณฑระ! แปลว่า ใจ และใจดวงนั้น ไม่ใช่ว่า จะ มี (ปัณฑระ) สีแดงอย่างเราคิดเห็น ทุกวันนี้ ว่ากันอยู่ทุกเมื่อเชื่อทุกเวลา ลงวันนี้ แต่เพราะปัณฑระ ท่านกล่าวว่า มีลักษณะสันติสภาพ ธรรม! ฉะนั้น เป็นสีเหลือง ใสอ่อน จาง นั่นแหละ

    เราขอบอก แบบอนุมาน เท้าความ เทียบเท่า เข้าที่ ไปตรงที่ท่านแสดงบอกทั่วโลก ไว้ว่าอย่างนี้ สรุป ก็คือ ดวงใจ ย่อมไม่ใช่สีแดง ประกอบกันอยู่ไปกับตอนนั้น เราก็พึงรู้ เพราะความรู้พระไตรปิฎกเราเองก็ดูอยู่แล้ว ด้วย ตอนนั้น ‘เป็นบุคลิก’ คือใจใดอันนั้น พระอรรถกถาสมมุติว่า ปรกติใจใดเป็นอย่างไร หากแสดงว่าด้วย ‘เป็นสี’ ใจแสดงมาด้วยสีอะไร?อย่างไร ในพระอรรถกถา บอกว่า ใจเป็นสีเขียว และสีเหลือง เป็นต้น

    ฉะนั้น ศัพท์ บุคลิก ดั่งนี้โดยย่อ หากพวกเรา มุ่งหาความแน่ใจ แก่บุคลิกของใจ หรือเลศทางหนังสือ เพื่อที่ตนจะสลัก หรือจะสกัด สมมุติเบื้องต้น อันซึ่ง จะเป็นคนแบบพระมนู , ลงซึ่ง กลเกณฑ์ต่าง ๆ เพราะอาจแต่จะอนุมาน ไว้แทน ซึ่งความต่าง แล้วเปิดทางให้คนเห็น เส้นทาง! ที่ชื่อว่า ‘โอกาศในหว่าง ที่ไม่มีอะไรคั่น’ ระหว่าง บุคลิก!ศัพท์ เมื่อ สันติธรรม สภาพ!มีด้วยปัณฑระ (ใจ) ศัพท์ เมื่อมีแนว มีการสดับอยู่แน่ ซึ่ง สัทธรรม และอสัทธรรมที่ในตน อยู่ทุกเมื่อแล้ว ถึงบอกว่า สีเหลือง อีกนัยหนึ่ง บอกว่า สีเขียว เป็นต้นฉะนั้น อันดั่งนั้น ก็ต้อง ใจ! เหมือนกัน” (กระทำกลับคืน กระทำสมบูรณ์ คำว่า “ภัณฑ์” ดูอ้าง rb.gy/tubqrk )

    返信削除